ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าฟ้าหลวงทิพเนตร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เพิ่มหลักฐานฝ่ายพม่า
สี่ขีด (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบอ้างอิง
 
(ไม่แสดง 5 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
| สีพิเศษ = #ffcc00
| สีพิเศษ = #ffcc00
| สีอักษร = #8f5f12
| สีอักษร = #8f5f12
| ประสูติ = {{เทาเล็ก|ไม่ปรากฏ}}
|ภาพ =
| พระอิสริยยศ = เจ้าฟ้าเชียงแสน สมัยที่ 1
|พระนาม = พญาหลวงทิพเนตร
| ราชวงศ์ = หลวงทิพเนตร
|พระปรมาภิไธย =
| ทรงราชย์ = พ.ศ. 2171 ไทยสากล - พ.ศ. 2171 ไทยสากล
|ประสูติ = {{เทาเล็ก|ไม่ปรากฏ}}
| รัชกาลก่อนหน้า = [[นางฟ้ากาเผือก]]
|วันพิราลัย= [[พ.ศ. 2193]]
| รัชกาลถัดมา = [[พระยาศรีสองเมืองวิชัยปราการ]]
|พระอิสริยยศ = ผู้ครองแคว้นล้านนา
| succession1 = เจ้าฟ้าเชียงแสน สมัยที่ 2
|พระบิดา =
| reign1 = พ.ศ. 2175 ไทยสากล - พ.ศ. 2193/2194 ไทยสากล
|พระมารดา=
| predecessor1 = [[พระยาศรีสองเมืองวิชัยปราการ]]
|พระมเหสี =
| successor1 = [[เจ้าฟ้าหมวกคำ]]
|พระโอรส/ธิดา = [[พระแสนเมือง]]<ref>[http://amulet9.wordpress.com/ ประวัติคาถาชินบัญชร] จากเว็บไซต์ amulet9 สืบค้นเมื่อ 05-06-57.</ref>
| วันสิ้นพระชนม์ = พ.ศ. 2193/2194 ไทยสากล
<br>เจ้าหน่อคำ
| พระราชโอรส/ธิดา = [[เจ้าฟ้าหมวกคำ]]<br>นายมอง
|ราชวงศ์ =
| pre-type1 = ก่อนหน้า
|ทรงราชย์ = [[พ.ศ. 2174]] - [[พ.ศ. 2193]]
| suc-type1 = รัชกาลถัดไป
|พิธีบรมราชาภิเษก =
| suc-type = ถัดไป
|ระยะเวลาครองราชย์ = 20 ปี
}}
|รัชกาลก่อนหน้า = [[พระเจ้าศรีสองเมือง|เจ้าศรีสองเมือง]]
'''เจ้าฟ้าหลวงทิพเนตร<ref name=":7">{{Cite book|last=อ๋องสกุล|first=สรัสวดี|title=พื้นเมืองเชียงแสน|publisher=อมรินทร์|year=2003|isbn=9742726612|editor-last=เอียวศรีวงศ์|editor-first=นิธิ|location=กรุงเทพฯ|pages=113-117, 121}}</ref><ref name=":12">{{Citation|last=|first=|title=ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๖๑|url=https://commons.wikimedia.org/wiki/File:%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A3_(%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84_%E0%B9%96%E0%B9%91)_-_%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%97%E0%B9%99.pdf|volume=|publication-date=19 April 1936|editor-last=กรมศิลปากร|trans-title=Collection of Historical Archives|trans-chapter=Phongsawadan Mueang Ngoen Yang Chiang Saen|chapter=พงศาวดารเมืองเงินยางเชียงแสน|publication-place=พระนคร|publisher=โรงพิมพ์อักษรโสภณ|language=ไทย|access-date=2024-05-01|editor-link=กรมศิลปากร}}</ref>''' หรือพระยาหลวงทิพเนตร<ref name=":4">{{Citation|last=|first=|title=ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่|url=https://commons.wikimedia.org/wiki/File:%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%88_-_%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%A3_-_%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%91%E0%B9%94.pdf|pages=81|publication-date=1971|editor-last=สำนักนายกรัฐมนตรี|editor-first=คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์|trans-title=Tamnan Phuen Mueang Chiang Mai|publication-place=พระนคร|publisher=สำนักนายกรัฐมนตรี|language=ไทย|access-date=2024-05-01|translator-last=โชติสุขรัตน์|translator-first=สงวน}}</ref><ref name=":02">{{Cite book|last=ประชากิจกรจักร|first=พระยา|url=https://www.finearts.go.th/chiangmailibrary/view/7187-%E0%B8%9E%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%81|title=พงศาวดารโยนก|publisher=บุรินทร์การพิมพ์|year=1973|edition=7th|location=กรุงเทพฯ|pages=408-410|author-link=พระยาประชากิจกรจักร์ (แช่ม บุนนาค)|access-date=2024-05-01}}</ref> ทรงเป็นเจ้าฟ้าเชียงแสนภายใต้การปกครองของ[[ราชวงศ์ตองอู|พม่า]]ระหว่างปี พ.ศ. 2171 ไทยสากล<ref group="note">เทียบตามปฏิทินสุริยคติไทย โดยยึดวันปีใหม่คือ 1 มกราคม</ref> และ พ.ศ. 2175 ไทยสากล - พ.ศ. 2193/2194 ไทยสากล (จ.ศ. 1012)
|รัชกาลถัดมา = [[พระแสนเมือง]]
|}}
'''พญาหลวงทิพเนตร''' (''ไม่ปรากฏ'' - [[พ.ศ. 2193]]) เป็นผู้ปกครอง[[แคว้นล้านนา]]องค์ที่ 7 ตั้งแต่พม่าครอบครองล้านนา


== พระราชประวัติ ==
แต่เดิมพระองค์ทรงมีตำแหน่งเป็นแสนหลวงเมือง[[อำเภอเชียงแสน|เชียงแสน]] นามว่าแสนหลวงเรือดอน ในปี พ.ศ. 2169 [[พระเจ้าอะเนาะเพะลูน]] ทรงให้พระอนุชาทั้งสองคือ '''สุทโธธรรมราชา''' ([[พระเจ้าตาลูน]]) และ'''มังรากะยอชวา''' ยกทัพไปตีเมือง[[เชียงรุ่ง]] เจ้าทั้งสองได้เกิดวิวาทกันที่เมืองเชียงแสนเมื่อปี พ.ศ. 2171 แสนหลวงเรือดอนมีความชอบในการระงับเหตุวิวาทดังกล่าว [[พงศาวดารโยนก]]<ref name=":0">{{Cite book|last=ประชากิจกรจักร|first=พระยา|url=https://www.finearts.go.th/chiangmailibrary/view/7187-%E0%B8%9E%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%81|title=พงศาวดารโยนก|publisher=บุรินทร์การพิมพ์|year=2516|location=กรุงเทพฯ}}</ref>ระบุว่าสุทโธธรรมราชาทรงตั้งให้เป็นพญาหลวงทิพเนตรเจ้าเมืองฝาง และให้เจ้าหน่อคำผู้เป็นพระโอรสเป็นเจ้าเมืองเชียงแสน พงศาวดารเมืองเงินยางเชียงแสน<ref name=":1">{{Cite web|title=ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๖๑ - วิกิซอร์ซ|url=https://th.wikisource.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A3_%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88_%E0%B9%96%E0%B9%91|website=th.wikisource.org|language=th}}</ref>ระบุว่าทรงตั้งให้เป็นเจ้าเมืองเชียงแสน และให้เจ้าหน่อคำเป็นเจ้าเมืองฝาง


=== เจ้าฟ้าเชียงแสนสมัยที่ 1 ===
ต่อมาเกิดการแย่งชิงบัลลังก์ภายในพม่าระหว่าง[[พระเจ้ามีนเยเดะบะ]]และสุทโธธรรมราชา [[เจ้าพลศึกซ้ายไชยสงคราม]]คิดแข็งเมืองต่อพม่าจึงจับตัวเจ้าเมืองเชียงแสนมาขังไว้ที่เชียงใหม่ ฝ่าย[[พระเจ้าตาลูน]]หลังจากที่ทรงจัดการบ้านเมืองเสร็จเรียบร้อย ทรงทราบว่าหัวเมืองในล้านนาแข็งเมืองกระด้างกระเดื่องต่อพระองค์ ก็ทรงยกกองทัพใหญ่มาปราบปราม ในปี พ.ศ. 2174 ปีมะแมตรีศก จุลศักราช 993 ทรงตีเมืองเชียงใหม่แตกและจับตัวเจ้าพลศึกซ้ายไชยสงครามได้จึงให้คุมตัวไปกักขังไว้ที่กรุง[[พะโค|หงสาวดี]]จนถึงสิ้นพระชนม์ แล้วตั้งให้พญาหลวงทิพเนตรมาครองแคว้นล้านนาโดยมีขุนนางพม่ากำกับอย่างใกล้ชิด<ref>บันทึกประวัติศาสตร์-เล่าเรื่องถิ่นเหนือ ''[http://historicallanna01.blogspot.com/2011/04/blog-post_24.html พระเจ้าศรีสองเมือง วีรบุรุษแห่งเมืองนันทบุรี]'' จากเว็บไซต์ blogspot.com สืบค้นเมื่อ 05-06-57.</ref> พงศาวดารโยนกระบุว่าพญาหลวงทิพเนตรขึ้นครองเมืองเชียงใหม่ และเจ้าหน่อคำกลับไปครองเมืองเชียงแสน พงศาวดารเมืองเงินยางเชียงแสนระบุว่า พญาหลวงทิพเนตรกลับไปครองเมืองเชียงแสน ส่วนเมืองเชียงใหม่ถูกพระเจ้าตาลูนกวาดต้อนผู้คนไปกรุงหงสาวดีจนกลายเป็นเมืองร้าง ภายหลังขุนนางตำแหน่งแสนหลวงและสามล้านนำคนหลบหนีกลับมาตั้งถิ่นฐานตามเดิม พงศาวดารพม่า<ref name=":2">{{Cite web|last=THIEN|first=NAI|date=29 กุมภาพันธ์ 1912|title=INTERCOURSE BETWEEN BURMA AND SIAM AS RECORDED IN HMANNAN YAZAWINDAWGYI|url=https://thesiamsociety.org/wp-content/uploads/2020/02/JSS_008_2b_NaiThien_IntercourseBetweenBurmaAndSiam.pdf|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20210602220307/https://thesiamsociety.org/wp-content/uploads/2020/02/JSS_008_2b_NaiThien_IntercourseBetweenBurmaAndSiam.pdf|archive-date=2 มิถุนายน 2021|access-date=8 ธันวาคม 2023|website=สยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์|page=88}}</ref>ระบุว่าพระเจ้าตาลูนยกทัพมาตีเมืองเชียงใหม่ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2173 และได้เมืองเชียงใหม่ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2175
แต่เดิมเจ้าฟ้าหลวงทิพเนตรทรงเป็นขุนนางเมืองเชียงแสน นามว่าแสนหลวงเรือดอน<ref group="note">แสนหลวงเรือดอนอาจเป็นตำแหน่ง ดังปรากฏในข้อความในพื้นเมืองเชียงแสนว่า ''หื้อแสนหลวงเถิง (เทิง) กินท้องช้างแล เรือดอน เรือทวาย ท่าทั้งมวลแล'' สรัสวดี อ๋องสกุล อธิบายว่า กินท้องช้าง หมายถึง เก็บภาษีเรือท้องช้าง ซึ่งเป็นเรือบรรทุกสินค้า</ref> ในปี พ.ศ. 2169/2170 ไทยสากล (จ.ศ. 988) เจ้าฟ้าแห่ง[[เชียงรุ่ง]]แข็งเมืองต่อพม่า [[พระเจ้าอะเนาะเพะลูน]]ทรงให้พระราชอนุชาทั้งสองคือ สุทโธธรรมราชา ([[พระเจ้าตาลูน]]) และ[[มังรายกะยอฉะวาแห่งซะกุ๊]]ยกทัพไปปราบปราม ต่อมาพระเจ้าอะเนาะเพะลูนทรงถูกปลงพระชนม์โดย[[พระเจ้ามีนเยเดะบะ]]ในวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2171 ไทยสากล ในขณะนั้นสุทโธธรรมราชาและมังรายกะยอฉะวากำลังเสด็จกลับจากการศึกที่เชียงรุ่งและประทับอยู่ที่เมืองเชียงแสน พระเจ้ามีนเยเดะบะทรงออกอุบายทำให้เจ้าทั้งสองเกิดวิวาทกัน<ref name=":5">{{Cite book|last=U Kala|title=The Great Chronicle, 1597-1711|publisher=MKS Publishing|year=2016|isbn=9789997102201|location=Yangon|pages=98-99, 103-105, 119, 167|translator-last=Tun Aung Chain}}</ref><ref name=":2">{{Cite web|last=THIEN|first=NAI|date=29 February 1912|title=INTERCOURSE BETWEEN BURMA AND SIAM AS RECORDED IN HMANNAN YAZAWINDAWGYI|url=https://thesiamsociety.org/wp-content/uploads/2020/02/JSS_008_2b_NaiThien_IntercourseBetweenBurmaAndSiam.pdf|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20210602220307/https://thesiamsociety.org/wp-content/uploads/2020/02/JSS_008_2b_NaiThien_IntercourseBetweenBurmaAndSiam.pdf|archive-date=2021-06-02|access-date=2023-12-08|website=สยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์|page=86-88}}</ref> แสนหลวงเรือดอนมีความชอบในการระงับเหตุวิวาทดังกล่าว สุทโธธรรมราชาจึงทรงตั้งให้เป็นเจ้าฟ้าหลวงทิพเนตรครองเมืองเชียงแสน'''<ref name=":7" /><ref name=":12" />'''


เจ้าฟ้าหลวงทิพเนตรโดยเสด็จไปส่งสุทโธธรรมราชาและมังรายกะยอฉะวาถึงฝั่ง[[แม่น้ำสาละวิน]] เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทำให้[[เจ้าพลศึกซ้ายไชยสงคราม]]แห่ง[[จังหวัดเชียงใหม่|เชียงใหม่]]ทรงคิดแข็งเมืองต่อพม่าจึงทรงให้เจ้าเมือง[[จังหวัดลำปาง|ลำปาง]]จับตัวเจ้าฟ้าหลวงทิพเนตรมาขังไว้ที่เชียงใหม่ จากนั้นจึงทรงแต่งตั้งให้เจ้าเมืองลำปางเป็น[[พระยาศรีสองเมืองวิชัยปราการ]]ปกครองเมืองเชียงแสนแทน'''<ref name=":7" /><ref name=":12" />'''
พ.ศ. 2175 [[เยเรเมียส ฟาน ฟลีต]]ระบุว่า [[สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง]]ทรงยกทัพขึ้นมารุกรานเชียงใหม่ ทำให้เจ้าเมืองเชียงใหม่ต้องทิ้งเมืองหนีไป<ref>[https://www.finearts.go.th/nakhonsithammaratlibrary/view/27742-%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A3-%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-79-%E0%B8%88%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%95 ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 79 จดหมายเหตุวันวลิต]. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2515</ref> ในปีเดียวกัน พระเจ้าตาลูนทรงยกทัพไปปราบเมืองฝางที่แข็งเมือง การตีเมืองฝางในครั้งนี้ถูกอ้างถึงในตำนานพระนางสามผิวของ[[อำเภอฝาง]]<ref>{{Cite web|date=6 มีนาคม 2012|title=อนุสาวรีย์ พระเจ้าฝางอุดมสิน – พระนางสามผิว (บ่อน้ำซาววา)|url=http://cmi.nfe.go.th/lib/Lib_Fang/index.php?name=knowledge1&file=readknowledge&id=40|url-status=live|access-date=7 ธันวาคม 2023|website=ห้องสมุดประชาชนอำเภอฝาง}}</ref> หลังจากได้เมืองฝางแล้วพระเจ้าตาลูนจึงเสด็จกลับกรุงหงสาวดี พระเจ้าตาลูนประทับอยู่ในแคว้นล้านนารวม 2 ปี<ref>{{Cite book|last=นราธิปประพันธ์พงศ์|first=พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ|url=https://finearts.go.th/storage/contents/2022/07/file/zep73mQQqNmponPm2Ft3wza14fick34gR5MEUlTg.pdf|title=พระราชพงศาวดารพม่า เล่ม 2|publisher=ศึกษาภัณฑ์พาณิชย์|year=2505|location=พระนคร|pages=7}}</ref> พงศาวดารพม่า<ref name=":2" />ระบุว่าพระเจ้าตาลูนทรงให้มังรากะยอชวายกทัพไปตีเมืองฝาง กองทัพพม่าล้อมเมืองฝางอยู่ 8 เดือนจึงเข้ายึดสำเร็จ มังรากะยอชวาเสด็จกลับไปรวมพลกับพระเจ้าตาลูนที่เมืองเชียงใหม่ จากนั้นทั้งสองพระองค์จึงเสด็จออกจากเมืองเชียงใหม่ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2176 และถึงกรุงหงสาวดีในเดือนเมษายน
[[ไฟล์:วัดเชตวัน(วัดกาเผือก).JPG|thumb|โบราณสถานวัดเชตวัน]]
พ.ศ. 2179 พระเจ้าตาลูนมีพระราชโองการให้สร้างวัดเชตวันขึ้นที่เมืองเชียงแสน ปัจจุบันคือโบราณสถานในอำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย<ref>{{Cite web|date=13 กรกฎาคม 2020|title=วัดเชตวัน|url=https://archaeology.sac.or.th/archaeology/523|url-status=live|access-date=7 ธันวาคม 2023|website=ฐานข้อมูลแหล่งโบราณคดีที่สำคัญในประเทศไทย|publisher=ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)}}</ref>


=== เจ้าฟ้าเชียงแสนสมัยที่ 2 ===
พญาหลวงทิพเนตรถึงแก่พิราลัยเมื่อ [[พ.ศ. 2193]]<ref name=":0" /><ref name=":1" /> [[ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่]]ไม่ได้กล่าวถึงเหตุการณ์นี้ แต่บันทึกไว้เพียงว่าเป็นปีที่เจ้าเมืองเชียงแสนถึงแก่พิราลัย<ref>{{Cite book|url=https://ia801304.us.archive.org/17/items/anupongchaiwong_gmail_700/ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ฉบับเชียงใหม่700ปี.pdf|title=ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับเชียงใหม่ 700 ปี|publisher=ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ สถาบันราชภัฏเชียงใหม่|year=2538|isbn=974-8150-62-3|location=เชียงใหม่|pages=99}}</ref> พงศาวดารโยนกระบุว่า[[พระแสนเมือง]]ผู้เป็นพระโอรสได้เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่พระองค์ต่อมา พงศาวดารเมืองเงินยางเชียงแสนระบุว่า เจ้าหน่อคำขึ้นครองเมืองเชียงแสนต่อมาเป็นเวลา 5 ปีจึงถึงแก่พิราลัยในปี [[พ.ศ. 2198]] จากนั้นพระแสนเมืองซึ่งเป็นพระโอรสของเจ้าหน่อคำจึงขึ้นครองเมืองเชียงแสน ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ระบุว่า [[พระแสนเมือง]]ได้เป็นเจ้าเมืองเชียงแสนในปี พ.ศ. 2198 โดยไม่ได้ระบุความสัมพันธ์กับพญาหลวงทิพเนตร
หลังจาก[[พระเจ้าตาลูน]]ทรงตีเมืองเชียงใหม่แตกในเดือนเมษายน พ.ศ. 2175 ไทยสากล<ref name=":5" /><ref name=":2" /> พระองค์ทรงให้เจ้าฟ้าหลวงทิพเนตรกลับไปครองเมืองเชียงแสนดังเดิม'''<ref name=":7" /><ref name=":12" />''' [[ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่]]<ref name=":4" /><ref name=":02" />ระบุว่า พระเจ้าตาลูนทรงตั้งให้เจ้าฟ้าหลวงทิพเนตรครองเมืองเชียงใหม่ซึ่งขัดแย้งกับ[[พญาแสนหลวง|ข้อมูลจากหลักฐานอื่น]]

เจ้าฟ้าหลวงทิพเนตรสิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2193/2194 ไทยสากล (จ.ศ. 1012)'''<ref name=":7" /><ref name=":12" />'''<ref name=":4" /><ref name=":02" /> [[เจ้าฟ้าหมวกคำ]]พระราชโอรสจึงขึ้นครองเมืองเชียงแสนต่อมา

เจ้าฟ้าหลวงทิพเนตรอาจมีพระราชธิดาอีก 1 พระองค์ ซึ่งถูกกล่าวถึงโดย[[มหาราชวงศ์]]<ref name=":5" /> มีพระนามว่า นายมอง<ref name=":03" group="note">ทับศัพท์ตาม[[วิกิพีเดีย:คู่มือการเขียน/การทับศัพท์ภาษาพม่า|การทับศัพท์ภาษาพม่า]]</ref> ({{Lang-en|Nai Maung}}) พระองค์ทรงเป็นธิดาเจ้าเมืองเชียงแสนและหลานสาว (niece) ของบาญายาซา<ref name=":03" group="note" /> ({{Lang-en|Banyayaza}}) และทรงเป็นหนึ่งในพระสนมของพระเจ้าตาลูน และได้ประสูติพระราชธิดาในปี พ.ศ. 2181/2182 ไทยสากล (จ.ศ. 1000) มีพระนามว่า ซิตะระนานเลาะ<ref name=":03" group="note" /> ({{Lang-en|Sittara Nan Lawk}}) ต่อมาซิตะระนานเลาะทรงได้รับพระราชทาน[[ราชทินนาม]] ตูซา<ref name=":03" group="note" /> ({{Lang-en|Thuza}}) หรือตูยาซา<ref name=":03" group="note" /> ({{Lang-en|Thuyaza}})

== หมายเหตุ ==
<references group="note" />


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 37: บรรทัด 42:
{{เริ่มกล่อง}}
{{เริ่มกล่อง}}
{{สืบตำแหน่ง
{{สืบตำแหน่ง
|ก่อนหน้า=[[พระเจ้าศรีสองเมือง]]
|ก่อนหน้า=[[นางฟ้ากาเผือก]]
|ตำแหน่ง=เจ้าผู้ครองแคว้นล้านนา
|ตำแหน่ง=เจ้าฟ้าเชียงแสน
|ปี= พ.ศ. 2171 ไทยสากล - พ.ศ. 2171 ไทยสากล
|ราชวงศ์=
|ถัดไป=[[พระยาศรีสองเมืองวิชัยปราการ]]
|ปี= [[พ.ศ. 2174]] - [[พ.ศ. 2198]]
|สมัยที่=1}}{{สืบตำแหน่ง|ก่อนหน้า=[[พระยาศรีสองเมืองวิชัยปราการ]]|ตำแหน่ง=เจ้าฟ้าเชียงแสน|ปี=พ.ศ. 2175 ไทยสากล - พ.ศ. 2193/2194 ไทยสากล|ถัดไป=[[เจ้าฟ้าหมวกคำ]]|สมัยที่=2}}
|ถัดไป=[[พระแสนเมือง]]
}}
{{จบกล่อง}}
{{จบกล่อง}}


{{เจ้าเชียงใหม่สมัยพม่า}}
{{เจ้าเชียงแสนสมัยพม่า}}


{{เกิดปี|}}
{{เกิดปี|}}
{{ตายปี|2198}}
{{ตายปี|2193}}
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ล้านนา]]
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ล้านนา]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 02:43, 2 พฤษภาคม 2567

เจ้าฟ้าหลวงทิพเนตร
เจ้าฟ้าเชียงแสน สมัยที่ 1
ครองราชย์พ.ศ. 2171 ไทยสากล - พ.ศ. 2171 ไทยสากล
รัชกาลก่อนหน้านางฟ้ากาเผือก
ถัดไปพระยาศรีสองเมืองวิชัยปราการ
เจ้าฟ้าเชียงแสน สมัยที่ 2
ครองราชย์พ.ศ. 2175 ไทยสากล - พ.ศ. 2193/2194 ไทยสากล
ก่อนหน้าพระยาศรีสองเมืองวิชัยปราการ
รัชกาลถัดไปเจ้าฟ้าหมวกคำ
ประสูติไม่ปรากฏ
สิ้นพระชนม์พ.ศ. 2193/2194 ไทยสากล
พระราชบุตรเจ้าฟ้าหมวกคำ
นายมอง
ราชวงศ์หลวงทิพเนตร

เจ้าฟ้าหลวงทิพเนตร[1][2] หรือพระยาหลวงทิพเนตร[3][4] ทรงเป็นเจ้าฟ้าเชียงแสนภายใต้การปกครองของพม่าระหว่างปี พ.ศ. 2171 ไทยสากล[note 1] และ พ.ศ. 2175 ไทยสากล - พ.ศ. 2193/2194 ไทยสากล (จ.ศ. 1012)

พระราชประวัติ[แก้]

เจ้าฟ้าเชียงแสนสมัยที่ 1[แก้]

แต่เดิมเจ้าฟ้าหลวงทิพเนตรทรงเป็นขุนนางเมืองเชียงแสน นามว่าแสนหลวงเรือดอน[note 2] ในปี พ.ศ. 2169/2170 ไทยสากล (จ.ศ. 988) เจ้าฟ้าแห่งเชียงรุ่งแข็งเมืองต่อพม่า พระเจ้าอะเนาะเพะลูนทรงให้พระราชอนุชาทั้งสองคือ สุทโธธรรมราชา (พระเจ้าตาลูน) และมังรายกะยอฉะวาแห่งซะกุ๊ยกทัพไปปราบปราม ต่อมาพระเจ้าอะเนาะเพะลูนทรงถูกปลงพระชนม์โดยพระเจ้ามีนเยเดะบะในวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2171 ไทยสากล ในขณะนั้นสุทโธธรรมราชาและมังรายกะยอฉะวากำลังเสด็จกลับจากการศึกที่เชียงรุ่งและประทับอยู่ที่เมืองเชียงแสน พระเจ้ามีนเยเดะบะทรงออกอุบายทำให้เจ้าทั้งสองเกิดวิวาทกัน[5][6] แสนหลวงเรือดอนมีความชอบในการระงับเหตุวิวาทดังกล่าว สุทโธธรรมราชาจึงทรงตั้งให้เป็นเจ้าฟ้าหลวงทิพเนตรครองเมืองเชียงแสน[1][2]

เจ้าฟ้าหลวงทิพเนตรโดยเสด็จไปส่งสุทโธธรรมราชาและมังรายกะยอฉะวาถึงฝั่งแม่น้ำสาละวิน เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทำให้เจ้าพลศึกซ้ายไชยสงครามแห่งเชียงใหม่ทรงคิดแข็งเมืองต่อพม่าจึงทรงให้เจ้าเมืองลำปางจับตัวเจ้าฟ้าหลวงทิพเนตรมาขังไว้ที่เชียงใหม่ จากนั้นจึงทรงแต่งตั้งให้เจ้าเมืองลำปางเป็นพระยาศรีสองเมืองวิชัยปราการปกครองเมืองเชียงแสนแทน[1][2]

เจ้าฟ้าเชียงแสนสมัยที่ 2[แก้]

หลังจากพระเจ้าตาลูนทรงตีเมืองเชียงใหม่แตกในเดือนเมษายน พ.ศ. 2175 ไทยสากล[5][6] พระองค์ทรงให้เจ้าฟ้าหลวงทิพเนตรกลับไปครองเมืองเชียงแสนดังเดิม[1][2] ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่[3][4]ระบุว่า พระเจ้าตาลูนทรงตั้งให้เจ้าฟ้าหลวงทิพเนตรครองเมืองเชียงใหม่ซึ่งขัดแย้งกับข้อมูลจากหลักฐานอื่น

เจ้าฟ้าหลวงทิพเนตรสิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2193/2194 ไทยสากล (จ.ศ. 1012)[1][2][3][4] เจ้าฟ้าหมวกคำพระราชโอรสจึงขึ้นครองเมืองเชียงแสนต่อมา

เจ้าฟ้าหลวงทิพเนตรอาจมีพระราชธิดาอีก 1 พระองค์ ซึ่งถูกกล่าวถึงโดยมหาราชวงศ์[5] มีพระนามว่า นายมอง[note 3] (อังกฤษ: Nai Maung) พระองค์ทรงเป็นธิดาเจ้าเมืองเชียงแสนและหลานสาว (niece) ของบาญายาซา[note 3] (อังกฤษ: Banyayaza) และทรงเป็นหนึ่งในพระสนมของพระเจ้าตาลูน และได้ประสูติพระราชธิดาในปี พ.ศ. 2181/2182 ไทยสากล (จ.ศ. 1000) มีพระนามว่า ซิตะระนานเลาะ[note 3] (อังกฤษ: Sittara Nan Lawk) ต่อมาซิตะระนานเลาะทรงได้รับพระราชทานราชทินนาม ตูซา[note 3] (อังกฤษ: Thuza) หรือตูยาซา[note 3] (อังกฤษ: Thuyaza)

หมายเหตุ[แก้]

  1. เทียบตามปฏิทินสุริยคติไทย โดยยึดวันปีใหม่คือ 1 มกราคม
  2. แสนหลวงเรือดอนอาจเป็นตำแหน่ง ดังปรากฏในข้อความในพื้นเมืองเชียงแสนว่า หื้อแสนหลวงเถิง (เทิง) กินท้องช้างแล เรือดอน เรือทวาย ท่าทั้งมวลแล สรัสวดี อ๋องสกุล อธิบายว่า กินท้องช้าง หมายถึง เก็บภาษีเรือท้องช้าง ซึ่งเป็นเรือบรรทุกสินค้า
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 ทับศัพท์ตามการทับศัพท์ภาษาพม่า

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 อ๋องสกุล, สรัสวดี (2003). เอียวศรีวงศ์, นิธิ (บ.ก.). พื้นเมืองเชียงแสน. กรุงเทพฯ: อมรินทร์. pp. 113–117, 121. ISBN 9742726612.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 กรมศิลปากร, บ.ก. (19 April 1936), "พงศาวดารเมืองเงินยางเชียงแสน" [Phongsawadan Mueang Ngoen Yang Chiang Saen], ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๖๑ [Collection of Historical Archives] (PDF), พระนคร: โรงพิมพ์อักษรโสภณ, สืบค้นเมื่อ 2024-05-01
  3. 3.0 3.1 3.2 สำนักนายกรัฐมนตรี, คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์, บ.ก. (1971), ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ [Tamnan Phuen Mueang Chiang Mai] (PDF), แปลโดย โชติสุขรัตน์, สงวน, พระนคร: สำนักนายกรัฐมนตรี, p. 81, สืบค้นเมื่อ 2024-05-01
  4. 4.0 4.1 4.2 ประชากิจกรจักร, พระยา (1973). พงศาวดารโยนก (7th ed.). กรุงเทพฯ: บุรินทร์การพิมพ์. pp. 408–410. สืบค้นเมื่อ 2024-05-01.
  5. 5.0 5.1 5.2 U Kala (2016). The Great Chronicle, 1597-1711. แปลโดย Tun Aung Chain. Yangon: MKS Publishing. pp. 98–99, 103–105, 119, 167. ISBN 9789997102201.
  6. 6.0 6.1 THIEN, NAI (29 February 1912). "INTERCOURSE BETWEEN BURMA AND SIAM AS RECORDED IN HMANNAN YAZAWINDAWGYI" (PDF). สยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์. p. 86-88. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-06-02. สืบค้นเมื่อ 2023-12-08.
ก่อนหน้า เจ้าฟ้าหลวงทิพเนตร ถัดไป
นางฟ้ากาเผือก เจ้าฟ้าเชียงแสน สมัยที่ 1
(พ.ศ. 2171 ไทยสากล - พ.ศ. 2171 ไทยสากล)
พระยาศรีสองเมืองวิชัยปราการ
พระยาศรีสองเมืองวิชัยปราการ เจ้าฟ้าเชียงแสน สมัยที่ 2
(พ.ศ. 2175 ไทยสากล - พ.ศ. 2193/2194 ไทยสากล)
เจ้าฟ้าหมวกคำ