(Go: >> BACK << -|- >> HOME <<)

ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าฟ้าหลวงทิพเนตร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พีรวงค์ (คุย | ส่วนร่วม)
พีรวงค์ ย้ายหน้า พระยาหลวงทิพเนตร ไปยัง พญาหลวงทิพเนตร
พีรวงค์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
| สีอักษร = #8f5f12
| สีอักษร = #8f5f12
|ภาพ =
|ภาพ =
|พระนาม = พระยาหลวงทิพเนตร
|พระนาม = พญาหลวงทิพเนตร
|พระปรมาภิไธย =
|พระปรมาภิไธย =
|ประสูติ = {{เทาเล็ก|ไม่ปรากฏ}}
|ประสูติ = {{เทาเล็ก|ไม่ปรากฏ}}
|วันพิราลัย= [[พ.ศ. 2198]]
|วันพิราลัย= [[พ.ศ. 2198]]
|พระอิสริยยศ = พระยาแคว้นล้านนา
|พระอิสริยยศ = ผู้ครองแคว้นล้านนา
|พระบิดา =
|พระบิดา =
|พระมารดา=
|พระมารดา=
บรรทัด 19: บรรทัด 19:
|รัชกาลถัดมา = [[พระแสนเมือง]]
|รัชกาลถัดมา = [[พระแสนเมือง]]
|}}
|}}
'''พระยาหลวงทิพเนตร''' (''ไม่ปรากฏ'' - [[พ.ศ. 2198]]) เป็นผู้ปกครอง[[แคว้นล้านนา]]องค์ที่ 7 ตั้งแต่พม่าครอบครองล้านนา และเป็นพระองค์แรกในราชวงศ์เมืองฝางที่มาปกครองล้านนา
'''พญาหลวงทิพเนตร''' (''ไม่ปรากฏ'' - [[พ.ศ. 2198]]) เป็นผู้ปกครอง[[แคว้นล้านนา]]องค์ที่ 7 ตั้งแต่พม่าครอบครองล้านนา และเป็นพระองค์แรกในราชวงศ์เมืองฝางที่มาปกครองล้านนา


แต่เดิมพระองค์ทรงมีตำแหน่งเป็นเจ้าเมืองฝาง ต่อมา[[พระเจ้าศรีสองเมือง]]คิดแข็งเมืองต่อกรุงอังวะ ฝ่าย[[พระเจ้าสุทโธธรรมราชา]]พระเจ้ากรุงอังวะหลังจากที่ทรงจัดการบ้านเมืองเสร็จเรียบร้อย ทรงทราบว่าหัวเมืองในล้านนาแข็งเมืองกระด้างกระเดื่องต่อพระองค์ ก็ทรงยกกองทัพใหญ่มาปราบปราม ในปี พ.ศ. 2174 ปีมะแมตรีศก จุลศักราช 993 ทรงตีเมืองเชียงใหม่แตกและจับตัวพระเจ้าเชียงใหม่ศรีสองเมืองได้จึงให้คุมตัวไปกักขังไว้ที่กรุงอังวะจนถึงสิ้นพระชนม์ และลดสถานะกษัตริย์แคว้นล้านนาลงแบ่งล้านนาเป็นสองส่วน ส่วนเหนือขึ้นกับเมืองเชียงแสนและส่วนตะวันตกขึ้นกับนครเชียงใหม่ แล้วพม่าตั้งให้พระยาหลวงทิพเนตรเจ้าเมืองฝางมาครองเมืองเชียงใหม่โดยมีขุนนางพม่ากำกับอย่างใกล้ชิด<ref>บันทึกประวัติศาสตร์-เล่าเรื่องถิ่นเหนือ ''[http://historicallanna01.blogspot.com/2011/04/blog-post_24.html พระเจ้าศรีสองเมือง วีรบุรุษแห่งเมืองนันทบุรี]'' จากเว็บไซต์ blogspot.com สืบค้นเมื่อ 05-06-57.</ref>
แต่เดิมพระองค์ทรงมีตำแหน่งเป็นเจ้าเมืองฝาง ต่อมา[[พระเจ้าศรีสองเมือง]]คิดแข็งเมืองต่อกรุงอังวะ ฝ่าย[[พระเจ้าสุทโธธรรมราชา]]พระเจ้ากรุงอังวะหลังจากที่ทรงจัดการบ้านเมืองเสร็จเรียบร้อย ทรงทราบว่าหัวเมืองในล้านนาแข็งเมืองกระด้างกระเดื่องต่อพระองค์ ก็ทรงยกกองทัพใหญ่มาปราบปราม ในปี พ.ศ. 2174 ปีมะแมตรีศก จุลศักราช 993 ทรงตีเมืองเชียงใหม่แตกและจับตัวพระเจ้าเชียงใหม่ศรีสองเมืองได้จึงให้คุมตัวไปกักขังไว้ที่กรุงอังวะจนถึงสิ้นพระชนม์ และลดสถานะกษัตริย์แคว้นล้านนาลงแบ่งล้านนาเป็นสองส่วน ส่วนเหนือขึ้นกับเมืองเชียงแสนและส่วนตะวันตกขึ้นกับนครเชียงใหม่ แล้วพม่าตั้งให้พญาหลวงทิพเนตรเจ้าเมืองฝางมาครองเมืองเชียงใหม่โดยมีขุนนางพม่ากำกับอย่างใกล้ชิด<ref>บันทึกประวัติศาสตร์-เล่าเรื่องถิ่นเหนือ ''[http://historicallanna01.blogspot.com/2011/04/blog-post_24.html พระเจ้าศรีสองเมือง วีรบุรุษแห่งเมืองนันทบุรี]'' จากเว็บไซต์ blogspot.com สืบค้นเมื่อ 05-06-57.</ref>


พระยาหลวงทิพเนตรครองเมืองเชียงใหม่ตั้งแต่ [[พ.ศ. 2174]] - [[พ.ศ. 2198]] รวมระยะเวลาได้ 24 ปี ก็ถึงแก่พิราลัยเมื่อ [[พ.ศ. 2198]] [[พระแสนเมือง]]ผู้เป็นพระโอรสจึงได้เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่พระองค์ต่อมา
พญาหลวงทิพเนตรครองเมืองเชียงใหม่ตั้งแต่ [[พ.ศ. 2174]] - [[พ.ศ. 2198]] รวมระยะเวลาได้ 24 ปี ก็ถึงแก่พิราลัยเมื่อ [[พ.ศ. 2198]] [[พระแสนเมือง]]ผู้เป็นพระโอรสจึงได้เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่พระองค์ต่อมา


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:30, 28 พฤษภาคม 2561

เจ้าฟ้าหลวงทิพเนตร
ผู้ครองแคว้นล้านนา
ครองราชย์พ.ศ. 2174 - พ.ศ. 2198
รัชสมัย24 ปี
รัชกาลก่อนหน้าเจ้าศรีสองเมือง
รัชกาลถัดไปพระแสนเมือง
ประสูติไม่ปรากฏ
พิราลัยพ.ศ. 2198
พระบุตรพระแสนเมือง[1]

พญาหลวงทิพเนตร (ไม่ปรากฏ - พ.ศ. 2198) เป็นผู้ปกครองแคว้นล้านนาองค์ที่ 7 ตั้งแต่พม่าครอบครองล้านนา และเป็นพระองค์แรกในราชวงศ์เมืองฝางที่มาปกครองล้านนา

แต่เดิมพระองค์ทรงมีตำแหน่งเป็นเจ้าเมืองฝาง ต่อมาพระเจ้าศรีสองเมืองคิดแข็งเมืองต่อกรุงอังวะ ฝ่ายพระเจ้าสุทโธธรรมราชาพระเจ้ากรุงอังวะหลังจากที่ทรงจัดการบ้านเมืองเสร็จเรียบร้อย ทรงทราบว่าหัวเมืองในล้านนาแข็งเมืองกระด้างกระเดื่องต่อพระองค์ ก็ทรงยกกองทัพใหญ่มาปราบปราม ในปี พ.ศ. 2174 ปีมะแมตรีศก จุลศักราช 993 ทรงตีเมืองเชียงใหม่แตกและจับตัวพระเจ้าเชียงใหม่ศรีสองเมืองได้จึงให้คุมตัวไปกักขังไว้ที่กรุงอังวะจนถึงสิ้นพระชนม์ และลดสถานะกษัตริย์แคว้นล้านนาลงแบ่งล้านนาเป็นสองส่วน ส่วนเหนือขึ้นกับเมืองเชียงแสนและส่วนตะวันตกขึ้นกับนครเชียงใหม่ แล้วพม่าตั้งให้พญาหลวงทิพเนตรเจ้าเมืองฝางมาครองเมืองเชียงใหม่โดยมีขุนนางพม่ากำกับอย่างใกล้ชิด[2]

พญาหลวงทิพเนตรครองเมืองเชียงใหม่ตั้งแต่ พ.ศ. 2174 - พ.ศ. 2198 รวมระยะเวลาได้ 24 ปี ก็ถึงแก่พิราลัยเมื่อ พ.ศ. 2198 พระแสนเมืองผู้เป็นพระโอรสจึงได้เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่พระองค์ต่อมา

อ้างอิง

  1. ประวัติคาถาชินบัญชร จากเว็บไซต์ amulet9 สืบค้นเมื่อ 05-06-57.
  2. บันทึกประวัติศาสตร์-เล่าเรื่องถิ่นเหนือ พระเจ้าศรีสองเมือง วีรบุรุษแห่งเมืองนันทบุรี จากเว็บไซต์ blogspot.com สืบค้นเมื่อ 05-06-57.
ก่อนหน้า เจ้าฟ้าหลวงทิพเนตร ถัดไป
พระเจ้าศรีสองเมือง เจ้าผู้ครองแคว้นล้านนา
(พ.ศ. 2174 - พ.ศ. 2198)
พระแสนเมือง