ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาตามาง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
|fam2=([[ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า|ทิเบต-พม่า]])
|fam2=([[ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า|ทิเบต-พม่า]])
|fam3=[[กลุ่มภาษาตามาง|ตามาง]]
|fam3=[[กลุ่มภาษาตามาง|ตามาง]]
|script=[[อักษรทิเบต]], [[อักษรเทวนาครี]]
|script=[[อักษรตัมยิก]] (ทิเบตตัวย่อ), [[อักษรเทวนาครี]], [[อักษรทิเบต]]
|iso3=taj
|iso3=taj
}}
}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:50, 26 เมษายน 2567

ภาษาตามาง
तामाङ
ประเทศที่มีการพูดเนปาล, อินเดีย, ภูฏาน
ภูมิภาคเอเชียใต้
จำนวนผู้พูดประมาณ 1 ล้านคน  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนอักษรตัมยิก (ทิเบตตัวย่อ), อักษรเทวนาครี, อักษรทิเบต
รหัสภาษา
ISO 639-3taj

ภาษาตามาง (Tamang; อักษรเทวนาครี:तामाङ) เป็นคำที่ใช้กล่าวถึงกลุ่มของสำเนียงที่ใช้พูดในเนปาลและสิกขิม ประกอบด้วย ตามางตะวันออก (ผู้พูด 759,257 คนในเนปาล) ตามางตะวันตกเฉียงเหนือ (ผู้พูด 55,000 คน) ตามางตะวันตกเฉียงใต้ (ผู้พูด 109,051 คน) ตามางกุรข่าตะวันออก (ผู้พูด 3,977 คน) และตามางตะวันตก (ผู้พูด 322,598 คน) ความคล้ายคลึงระหว่างตามางตะวันออกกับตามางสำเนียงอื่นๆ อยู่ระหว่าง 81% ถึง 63% ภาษานี้เป็นตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่ากลุ่มใหญ่ที่สุดในเนปาล

ไวยากรณ์

ภาษาตามางเรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา ใช้ปรบท คำแสดงความเป็นเจ้าของอยู่หลังคำนาม มีการกเกี่ยวพัน มีเสียงวรรณยุกต์

ระบบการเขียน

ใช้อักษรตัม-ยิกซึ่งคล้ายอักษรทิเบตและอักษรเทวนาครี ส่วนใหญ่มักจะกล่าวว่าภาษานี้เขียนด้วยอักษรเทวนาครี