(Go: >> BACK << -|- >> HOME <<)

ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นกเค้าโมง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หน้าใหม่: {{Taxobox | name = | image = Raw25-Dooars DSC0013 Jungle owlet himadrimondal crp-tight.jpg | image_caption = นกเค้าโมงใน[[รัฐเบงกอ...
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
'''นกเค้าโมง''' หรือ '''นกเค้าแมว''' (ชื่อ[[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Asian Barred Owlet, [[ชื่อวิทยาศาสตร์]]: ''Glaucidium cuculoides'') เป็น[[นก]]ขนาดเล็ก[[สปีชีส์|ชนิด]]หนึ่ง จำพวก[[นกเค้าแมว]] มีลาย[[สีน้ำตาล]]ทั่วทั้งตัว ด้านใต้ของลำตัวเป็น[[สีขาว]]และมีลายสีขาวในแนวตั้งลากยาวขึ้นมาที่บริเวณอกอย่างไม่เป็นระเบียบ มีม่านตา[[สีเหลือง]] ในวัยเล็กจะมีลวดลายบนหัวเป็นจุดคล้ายกับ[[นกเค้าแคระ]] (''G. brodiei'') ซึ่งเป็นนกใน[[สกุล (ชีววิทยา)|สกุล]]เดียวกันและเป็นนกจำพวกนกเค้าแมวที่เล็กที่สุดที่พบได้ใน[[ประเทศไทย]]
'''นกเค้าโมง''' หรือ '''นกเค้าแมว''' (ชื่อ[[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Asian Barred Owlet, [[ชื่อวิทยาศาสตร์]]: ''Glaucidium cuculoides'') เป็น[[นก]]ขนาดเล็ก[[สปีชีส์|ชนิด]]หนึ่ง จำพวก[[นกเค้าแมว]] มีลาย[[สีน้ำตาล]]ทั่วทั้งตัว ด้านใต้ของลำตัวเป็น[[สีขาว]]และมีลายสีขาวในแนวตั้งลากยาวขึ้นมาที่บริเวณอกอย่างไม่เป็นระเบียบ มีม่านตา[[สีเหลือง]] ในวัยเล็กจะมีลวดลายบนหัวเป็นจุดคล้ายกับ[[นกเค้าแคระ]] (''G. brodiei'') ซึ่งเป็นนกใน[[สกุล (ชีววิทยา)|สกุล]]เดียวกันและเป็นนกจำพวกนกเค้าแมวที่เล็กที่สุดที่พบได้ใน[[ประเทศไทย]]


นกเค้าโมง มีการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางในภูมิภาค[[เอเชียใต้]]จนถึง[[เอเชียอาคเนย์]] สามารถปรับตัวให้อยู่ได้ในทุกสภาพแวดล้อม ทั้ง[[ป่าดิบ|ป่าทึบ]]ที่มีความสูงจาก[[ระดับน้ำทะเล]]ไม่เกิน 1,980 [[เมตร]] จนถึง[[สวนสาธารณะ]]ในเมืองใหญ่ บางครั้งอาจจะพบได้ในเวลา[[กลางวัน]]ได้อีกด้วย จึงนับเป็นนกจำพวกนกเค้าแมวอีกชนิดหนึ่งที่พบเห็นตัวได้บ่อยรองมาจาก[[นกแสก]] (''Tylo alba'') สำหรับในประเทศไทย พบได้ทุกภาคยกเว้น[[ภาคใต้]]ตอนล่างและ[[ภาคกลาง]]ตอนล่าง
นกเค้าโมง มีการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางในภูมิภาค[[เอเชียใต้]]จนถึง[[เอเชียอาคเนย์]] สามารถปรับตัวให้อยู่ได้ในทุกสภาพแวดล้อม ทั้ง[[ป่าดิบ|ป่าทึบ]]ที่มีความสูงจาก[[ระดับน้ำทะเล]]ไม่เกิน 1,980 [[เมตร]] จนถึง[[สวนสาธารณะ]]ในเมืองใหญ่ บางครั้งอาจจะพบได้ในเวลา[[กลางวัน]]ได้อีกด้วย จึงนับเป็นนกจำพวกนกเค้าแมวอีกชนิดหนึ่งที่พบเห็นตัวได้บ่อยรองมาจาก[[นกแสก]] (''Tyto alba'') สำหรับในประเทศไทย พบได้ทุกภาคยกเว้น[[ภาคใต้]]ตอนล่างและ[[ภาคกลาง]]ตอนล่าง


มีพฤติกรรมร้องได้หลายเสียง หลายทำนอง ในเวลา[[กลางคืน]]จะร้องเป็นครั้งคราวคล้ายกับจะบอกโมงยาม จึงได้ชื่อว่า นกเค้าโมง
มีพฤติกรรมร้องได้หลายเสียง หลายทำนอง ในเวลา[[กลางคืน]]จะร้องเป็นครั้งคราวคล้ายกับจะบอกโมงยาม จึงได้ชื่อว่า นกเค้าโมง

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:34, 6 มิถุนายน 2553

นกเค้าโมง
นกเค้าโมงในรัฐเบงกอลตะวันตก, อินเดีย
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Aves
อันดับ: Strigiformes
วงศ์: Strigidae
สกุล: Glaucidium
สปีชีส์: G.  cuculoides
ชื่อทวินาม
Glaucidium cuculoides
(Vigors, 1831)

นกเค้าโมง หรือ นกเค้าแมว (ชื่ออังกฤษ: Asian Barred Owlet, ชื่อวิทยาศาสตร์: Glaucidium cuculoides) เป็นนกขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จำพวกนกเค้าแมว มีลายสีน้ำตาลทั่วทั้งตัว ด้านใต้ของลำตัวเป็นสีขาวและมีลายสีขาวในแนวตั้งลากยาวขึ้นมาที่บริเวณอกอย่างไม่เป็นระเบียบ มีม่านตาสีเหลือง ในวัยเล็กจะมีลวดลายบนหัวเป็นจุดคล้ายกับนกเค้าแคระ (G. brodiei) ซึ่งเป็นนกในสกุลเดียวกันและเป็นนกจำพวกนกเค้าแมวที่เล็กที่สุดที่พบได้ในประเทศไทย

นกเค้าโมง มีการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางในภูมิภาคเอเชียใต้จนถึงเอเชียอาคเนย์ สามารถปรับตัวให้อยู่ได้ในทุกสภาพแวดล้อม ทั้งป่าทึบที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลไม่เกิน 1,980 เมตร จนถึงสวนสาธารณะในเมืองใหญ่ บางครั้งอาจจะพบได้ในเวลากลางวันได้อีกด้วย จึงนับเป็นนกจำพวกนกเค้าแมวอีกชนิดหนึ่งที่พบเห็นตัวได้บ่อยรองมาจากนกแสก (Tyto alba) สำหรับในประเทศไทย พบได้ทุกภาคยกเว้นภาคใต้ตอนล่างและภาคกลางตอนล่าง

มีพฤติกรรมร้องได้หลายเสียง หลายทำนอง ในเวลากลางคืนจะร้องเป็นครั้งคราวคล้ายกับจะบอกโมงยาม จึงได้ชื่อว่า นกเค้าโมง

เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าพุทธศักราช 2535 แต่จากความที่เป็นนกขนาดเล็ก จึงทำให้นกเค้าโมงเป็นนกเค้าแมวอีกชนิดหนึ่งที่มีผู้นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงเช่นเดียวกับนกเค้าแคระ

อ้างอิง