(Go: >> BACK << -|- >> HOME <<)

ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นกเค้าโมง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
เติมคำว่าผู้คน ให้อ่านง่ายขึ้น
 
(ไม่แสดง 7 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 7 คน)
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
| image = Raw25-Dooars DSC0013 Jungle owlet himadrimondal crp-tight.jpg
| image = Raw25-Dooars DSC0013 Jungle owlet himadrimondal crp-tight.jpg
| image_caption = นกเค้าโมงใน[[รัฐเบงกอลตะวันตก]], [[อินเดีย]]
| image_caption = นกเค้าโมงใน[[รัฐเบงกอลตะวันตก]], [[อินเดีย]]
| status = LC | status_system = IUCN3.1
| status = LC
| status_system = IUCN3.1
| status_ref = <ref>{{IUCN|id=22689277 |title=''Glaucidium cuculoides'' |assessors=[[BirdLife International]] |version=2013.2 |year=2012 |accessdate=26 November 2013}}</ref>
| status_ref = <ref>[http://www.iucnredlist.org/details/106002276/0 จาก [[IUCN]] {{en}}]</ref>
| regnum = [[Animal]]ia
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[chordate|Chordata]]
| phylum = [[chordate|Chordata]]
บรรทัด 27: บรรทัด 28:
| subdivision_ranks = [[ชนิดย่อย]]
| subdivision_ranks = [[ชนิดย่อย]]
}}
}}
'''นกเค้าโมง''' หรือ '''นกเค้าแมว''' ({{lang-en|Asian barred owlet}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Glaucidium cuculoides}}) เป็น[[นก]]ขนาดเล็ก[[สปีชีส์|ชนิด]]หนึ่ง จำพวก[[นกเค้าแมว]] มีลาย[[สีน้ำตาล]]ทั่วทั้งตัว ด้านใต้ของลำตัวเป็น[[สีขาว]]และมีลายสีขาวในแนวตั้งลากยาวขึ้นมาที่บริเวณอกอย่างไม่เป็นระเบียบ มีม่านตา[[สีเหลือง]] ในวัยเล็กจะมีลวดลายบนหัวเป็นจุดคล้ายกับ[[นกเค้าแคระ]] (''G. brodiei'') ซึ่งเป็นนกใน[[Glaucidium|สกุลเดียวกัน]]และเป็นนกจำพวกนกเค้าแมวที่เล็กที่สุดที่พบได้ใน[[ประเทศไทย]]
'''นกเค้าโมง''' หรือ '''นกเค้าแมว''' ({{lang-en|Asian barred owlet}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Glaucidium cuculoides}}) เป็น[[นกเค้า]]ขนาดเล็ก[[สปีชีส์|ชนิด]]หนึ่ง มีลาย[[สีน้ำตาล]]ทั่วทั้งตัว ด้านใต้ของลำตัวเป็น[[สีขาว]]และมีลายสีขาวในแนวตั้งลากยาวขึ้นมาที่บริเวณอกอย่างไม่เป็นระเบียบ มีม่านตา[[สีเหลือง]] ในวัยเล็กจะมีลวดลายบนหัวเป็นจุดคล้ายกับ[[นกเค้าแคระ]] (''G. brodiei'') ซึ่งเป็นนกใน[[Glaucidium|สกุลเดียวกัน]]และเป็นนกจำพวกนกเค้าแมวที่เล็กที่สุดที่พบได้ใน[[ประเทศไทย]]


นกเค้าโมง มีการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางในภูมิภาค[[เอเชียใต้]]จนถึง[[เอเชียอาคเนย์]]และ[[เอเชียตะวันออก]] มี[[ชนิดย่อย]]ทั้งสิ้น 8 ชนิด (ดูในตาราง) สามารถปรับตัวให้อยู่ได้ในทุกสภาพแวดล้อม ทั้ง[[ป่าดิบ|ป่าทึบ]]ที่มีความสูงจาก[[ระดับน้ำทะเล]]ไม่เกิน 1,980 [[เมตร]] จนถึง[[สวนสาธารณะ]]ในเมืองใหญ่ บางครั้งอาจจะพบได้ในเวลา[[กลางวัน]]ได้อีกด้วย จึงนับเป็นนกจำพวกนกเค้าแมวอีกชนิดหนึ่งที่พบเห็นตัวได้บ่อยรองมาจาก[[นกแสก]] (''Tyto alba'') สำหรับในประเทศไทย พบได้ทุกภาคยกเว้น[[ภาคใต้]]ตอนล่างและ[[ภาคกลาง]]ตอนล่าง
นกเค้าโมง มีการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางในภูมิภาค[[เอเชียใต้]]จนถึง[[เอเชียอาคเนย์]]และ[[เอเชียตะวันออก]] มี[[ชนิดย่อย]]ทั้งสิ้น 8 ชนิด (ดูในตาราง) สามารถปรับตัวให้อยู่ได้ในทุกสภาพแวดล้อม ทั้ง[[ป่าดิบ|ป่าทึบ]]ที่มีความสูงจาก[[ระดับน้ำทะเล]]ไม่เกิน 1,980 [[เมตร]] จนถึง[[สวนสาธารณะ]]ในเมืองใหญ่ บางครั้งอาจจะพบได้ในเวลา[[กลางวัน]]ได้อีกด้วย จึงนับเป็นนกจำพวกนกเค้าแมวอีกชนิดหนึ่งที่พบเห็นตัวได้บ่อยรองมาจาก[[นกแสก]] (''Tyto alba'') สำหรับในประเทศไทย พบได้ทุกภาคยกเว้น[[ภาคใต้]]ตอนล่างและ[[ภาคกลาง]]ตอนล่าง
บรรทัด 33: บรรทัด 34:
มีพฤติกรรมร้องได้หลายเสียง หลายทำนอง ในเวลา[[กลางคืน]]จะร้องเป็นครั้งคราวคล้ายกับจะบอกโมงยาม จึงได้ชื่อว่า "นกเค้าโมง"
มีพฤติกรรมร้องได้หลายเสียง หลายทำนอง ในเวลา[[กลางคืน]]จะร้องเป็นครั้งคราวคล้ายกับจะบอกโมงยาม จึงได้ชื่อว่า "นกเค้าโมง"


เป็น[[สัตว์ป่าคุ้มครอง]]ตาม[[พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าพุทธศักราช 2535]] แต่จากความที่เป็นนกขนาดเล็ก จึงทำให้นกเค้าโมงเป็นนกเค้าแมวอีกชนิดหนึ่งที่มีผู้นิยมเลี้ยงเป็น[[สัตว์เลี้ยง]]เช่นเดียวกับนกเค้าแคระ<ref>[http://kanchanapisek.or.th/kp14/project_dev/project_area/Ratburi/animal_page2.php?animalid=103&page=3 นกเค้าโมง, นกเค้าแมว จาก[[เว็บไซต์]][[กาญจนาภิเษก]]]</ref>
เป็น[[สัตว์ป่าคุ้มครอง]]ตาม[[พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าพุทธศักราช 2535]] แต่จากความที่เป็นนกขนาดเล็ก จึงทำให้นกเค้าโมงเป็นนกเค้าอีกชนิดหนึ่งที่มีผู้คนนิยมเลี้ยงเป็น[[สัตว์เลี้ยง]]เช่นเดียวกับนกเค้าแคระ<ref>[http://kanchanapisek.or.th/kp14/project_dev/project_area/Ratburi/animal_page2.php?animalid=103&page=3{{ลิงก์เสีย|date=พฤศจิกายน 2022 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }} นกเค้าโมง, นกเค้าแมว จาก[[เว็บไซต์]][[กาญจนาภิเษก]]]</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 40: บรรทัด 41:
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* {{wikispecies-inline|Glaucidium cuculoides}}
* {{wikispecies-inline|Glaucidium cuculoides}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Glaucidium cuculoides}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Glaucidium cuculoides|''Glaucidium cuculoides''}}


{{เรียงลำดับ|คเ้ามโง}}
{{เรียงลำดับ|เค้าโมง}}
[[หมวดหมู่:นกที่เป็นสัตว์เลี้ยง]]
[[หมวดหมู่:นกที่เป็นสัตว์เลี้ยง]]
[[หมวดหมู่:นกที่พบในประเทศไทย]]
[[หมวดหมู่:นกที่พบในประเทศไทย]]
[[หมวดหมู่:สัตว์ป่าคุ้มครอง]]
[[หมวดหมู่:สัตว์ป่าคุ้มครอง]]
[[หมวดหมู่:วงศ์นกเค้าแมว|มโง]]
[[หมวดหมู่:วงศ์นกเค้าแมว|โมง]]
[[หมวดหมู่:นกในประเทศอินเดีย]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 11:31, 20 เมษายน 2567

นกเค้าโมง
นกเค้าโมงในรัฐเบงกอลตะวันตก, อินเดีย
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Aves
อันดับ: Strigiformes
วงศ์: Strigidae
สกุล: Glaucidium
สปีชีส์: G.  cuculoides
ชื่อทวินาม
Glaucidium cuculoides
(Vigors, 1831)
ชนิดย่อย
  • G. c. austerum (Ripley, 1948)
  • G. c. bruegeli (Parrot, 1908)
  • G. c. cuculoides (Vigors, 1831)
  • G. c. deignani (Ripley, 1948)
  • G. c. delacouri (Ripley, 1948)
  • G. c. persimile (Hartert, 1910)
  • G. c. rufescens (E. C. S. Baker, 1926)
  • G. c. whitelyi (Blyth, 1867)

นกเค้าโมง หรือ นกเค้าแมว (อังกฤษ: Asian barred owlet; ชื่อวิทยาศาสตร์: Glaucidium cuculoides) เป็นนกเค้าขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีลายสีน้ำตาลทั่วทั้งตัว ด้านใต้ของลำตัวเป็นสีขาวและมีลายสีขาวในแนวตั้งลากยาวขึ้นมาที่บริเวณอกอย่างไม่เป็นระเบียบ มีม่านตาสีเหลือง ในวัยเล็กจะมีลวดลายบนหัวเป็นจุดคล้ายกับนกเค้าแคระ (G. brodiei) ซึ่งเป็นนกในสกุลเดียวกันและเป็นนกจำพวกนกเค้าแมวที่เล็กที่สุดที่พบได้ในประเทศไทย

นกเค้าโมง มีการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางในภูมิภาคเอเชียใต้จนถึงเอเชียอาคเนย์และเอเชียตะวันออก มีชนิดย่อยทั้งสิ้น 8 ชนิด (ดูในตาราง) สามารถปรับตัวให้อยู่ได้ในทุกสภาพแวดล้อม ทั้งป่าทึบที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลไม่เกิน 1,980 เมตร จนถึงสวนสาธารณะในเมืองใหญ่ บางครั้งอาจจะพบได้ในเวลากลางวันได้อีกด้วย จึงนับเป็นนกจำพวกนกเค้าแมวอีกชนิดหนึ่งที่พบเห็นตัวได้บ่อยรองมาจากนกแสก (Tyto alba) สำหรับในประเทศไทย พบได้ทุกภาคยกเว้นภาคใต้ตอนล่างและภาคกลางตอนล่าง

มีพฤติกรรมร้องได้หลายเสียง หลายทำนอง ในเวลากลางคืนจะร้องเป็นครั้งคราวคล้ายกับจะบอกโมงยาม จึงได้ชื่อว่า "นกเค้าโมง"

เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าพุทธศักราช 2535 แต่จากความที่เป็นนกขนาดเล็ก จึงทำให้นกเค้าโมงเป็นนกเค้าอีกชนิดหนึ่งที่มีผู้คนนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงเช่นเดียวกับนกเค้าแคระ[2]

อ้างอิง[แก้]

  1. BirdLife International (2012). "Glaucidium cuculoides". IUCN Red List of Threatened Species. Version 2013.2. สืบค้นเมื่อ 26 November 2013.
  2. [ลิงก์เสีย] นกเค้าโมง, นกเค้าแมว จากเว็บไซต์กาญจนาภิเษก

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Glaucidium cuculoides ที่วิกิสปีชีส์